<p><strong>Q : คอร์สออนไลน์ที่สอนให้บรรลุธรรมเป็นไปได้หรือไม่?</strong></p><p>A : การบรรลุธรรมได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเหตุเงื่อนไขและปัจจัยเหตุแห่งการบรรลุธรรม คือการปฏิบัติตามมรรค 8 และเราจะไม่สามารถบรรลุธรรมได้แม้จะปฏิบัติตามมรรค 8 แล้วก็ตาม คือมีความเคลือบแคลงเห็นแย้งไม่ลงใจในมรรคในข้อปฏิบัติ หากเราได้ยินได้ฟังเรื่องใดมา เราต้องใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองใคร่ครวญเทียบเคียงกับคำสอนของท่าน ศรัทธาและปัญญาต้องไปคู่กันเสมอ</p><br><p><strong>Q : การออกเสียงปาฬิภาษาในพระไตรปิฎกให้แม่นยำสำคัญต่อการบรรลุธรรมอย่างไร?</strong></p><p>A : ในวิมุตยายตนสูตร 5 ประการที่เกี่ยวกับการบรรลุธรรมคือการฟัง, การแสดงธรรม, การสวด|สาธยายหมายถึงการสวดการออกเสียง "สัชฌายะ" การตรึกตรองและการทำสมาธิเมื่อเราปฏิบัติตามแล้ว จะทำให้จิตมีปิติ ปราโมทย์ สุข จิตตั้งมั่นมีความเพียรบรรลุธรรมได้ ดังนั้นการออกเสียงสัชฌายะให้ถูกต้องตามอักขระจึงมาตรงกับการสาธยายโดยพิสดาร จะทำให้เรารู้แจ้งอัตถะรู้แจ้งธรรมะได้ดี จะมีความเข้าใจบางประการเกิดขึ้นจากการได้ยินเสียงนั้น</p><br><p><strong>Q : ฌาน 4 มีคุณสมบัติอย่างไร?</strong></p><p>A : คุณสมบัติของฌาน 4 คือ มีแต่อุเบกขาล้วน ๆ การจะไปดูนรกสวรรค์ได้ก็ไปด้วยกำลังของฌานคือสมาธิ จะทำให้เกิดญาณคือความสามารถนี้ ซึ่งกำลังของญานจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับว่าสมาธิน้อยหรือมาก</p><br><p><strong>Q : ลักษณะของการตรัสรู้ธรรมเป็นอย่างไร?</strong></p><p>A : โพธิปักขิยธรรม เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค ลักษณะธรรมะของท่านเปรียบเหมือนจุ่มแห เมื่อเราปฏิบัติตรงนี้ก็จะดึงส่วนอื่นเข้ามาด้วย เราทำส่วนไหนได้ก็ทำส่วนนั้น ทำจนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งหมด ทำธรรมะในจิตของเราให้เข้ากัน ก็จะทำให้เกิดการตรัสรู้ธรรมได้</p><br><p><strong>Q : ต้องเดินอานาปานสติถึงขั้นไหนจึงเกิดปีติสุข?</strong></p><p>A : เราฝึกเพื่อให้มีสติ ไม่ได้จะเอาอย่างอื่นจะเกิดอย่างอื่นหรือไม่เราไม่ได้เอาตรงนั้น</p><br /><hr><p style='color:grey; font-size:0.75em;'> Hosted on Acast. See <a style='color:grey;' target='_blank' rel='noopener noreferrer' href='https://acast.com/privacy'>acast.com/privacy</a> for more information.</p>

7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana

ขายนิพพาน [6714-7q]

APR 6, 202455 MIN
7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

ขายนิพพาน [6714-7q]

APR 6, 202455 MIN

Description

<p><strong>Q : คอร์สออนไลน์ที่สอนให้บรรลุธรรมเป็นไปได้หรือไม่?</strong></p><p>A : การบรรลุธรรมได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเหตุเงื่อนไขและปัจจัยเหตุแห่งการบรรลุธรรม คือการปฏิบัติตามมรรค 8 และเราจะไม่สามารถบรรลุธรรมได้แม้จะปฏิบัติตามมรรค 8 แล้วก็ตาม คือมีความเคลือบแคลงเห็นแย้งไม่ลงใจในมรรคในข้อปฏิบัติ หากเราได้ยินได้ฟังเรื่องใดมา เราต้องใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองใคร่ครวญเทียบเคียงกับคำสอนของท่าน ศรัทธาและปัญญาต้องไปคู่กันเสมอ</p><br><p><strong>Q : การออกเสียงปาฬิภาษาในพระไตรปิฎกให้แม่นยำสำคัญต่อการบรรลุธรรมอย่างไร?</strong></p><p>A : ในวิมุตยายตนสูตร 5 ประการที่เกี่ยวกับการบรรลุธรรมคือการฟัง, การแสดงธรรม, การสวด|สาธยายหมายถึงการสวดการออกเสียง "สัชฌายะ" การตรึกตรองและการทำสมาธิเมื่อเราปฏิบัติตามแล้ว จะทำให้จิตมีปิติ ปราโมทย์ สุข จิตตั้งมั่นมีความเพียรบรรลุธรรมได้ ดังนั้นการออกเสียงสัชฌายะให้ถูกต้องตามอักขระจึงมาตรงกับการสาธยายโดยพิสดาร จะทำให้เรารู้แจ้งอัตถะรู้แจ้งธรรมะได้ดี จะมีความเข้าใจบางประการเกิดขึ้นจากการได้ยินเสียงนั้น</p><br><p><strong>Q : ฌาน 4 มีคุณสมบัติอย่างไร?</strong></p><p>A : คุณสมบัติของฌาน 4 คือ มีแต่อุเบกขาล้วน ๆ การจะไปดูนรกสวรรค์ได้ก็ไปด้วยกำลังของฌานคือสมาธิ จะทำให้เกิดญาณคือความสามารถนี้ ซึ่งกำลังของญานจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับว่าสมาธิน้อยหรือมาก</p><br><p><strong>Q : ลักษณะของการตรัสรู้ธรรมเป็นอย่างไร?</strong></p><p>A : โพธิปักขิยธรรม เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค ลักษณะธรรมะของท่านเปรียบเหมือนจุ่มแห เมื่อเราปฏิบัติตรงนี้ก็จะดึงส่วนอื่นเข้ามาด้วย เราทำส่วนไหนได้ก็ทำส่วนนั้น ทำจนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งหมด ทำธรรมะในจิตของเราให้เข้ากัน ก็จะทำให้เกิดการตรัสรู้ธรรมได้</p><br><p><strong>Q : ต้องเดินอานาปานสติถึงขั้นไหนจึงเกิดปีติสุข?</strong></p><p>A : เราฝึกเพื่อให้มีสติ ไม่ได้จะเอาอย่างอื่นจะเกิดอย่างอื่นหรือไม่เราไม่ได้เอาตรงนั้น</p><br /><hr><p style='color:grey; font-size:0.75em;'> Hosted on Acast. See <a style='color:grey;' target='_blank' rel='noopener noreferrer' href='https://acast.com/privacy'>acast.com/privacy</a> for more information.</p>